วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552

ดอกชบา






ชื่อวิทยาศาสตร์ Cananga odorata Hook. ชื่อสามัญ ลักษณะทั่วไป เป็นไม้ยืนต้นลักษณะใบคล้ายเล็บ มือนางออกดอกเป็นช่อตรงบริเวณปลายกิ่งโคนก้านใบ สภาพที่เหมาะสม แดดจัด ลักษณะเด่นของพืชชนิดนี้ คือ มีเส้นใยและยางเมือก (mucilagnous)อยู่ในเนื้อไม้โดยทั่วไปเป็นไม้พุ่มขนาดกลางใบเป็นใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับมีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปไข่ รูปกลม รูปรีหรือเว้าเป็นแฉก 3-5 แฉก มีกลีบดอก 5 กลีบแต่ละดอกจะเชื่อมติดกันเป็นวงที่ฐานดอก เกสรเพศผู้ประกอบด้วยอับเรณูสีเหลืองรูปไตและก้านชูอับเรณูสีขาวหรือสีเดียวกัน เกสรเพศเมีย อยู่ปลายหลอดเกสรเพศผู้มักมีก้านเล็ก ๆ แยกยอดเกสรเพศเมียเป็น 5 ยอก ตามจำนวนห้องรังไข่ส่วนยอดมีน้ำหวานสำหรับจับละอองเรณู ประเภทของดอกอาจแบ่งได้ 3 ลักษณะ คือ
1.ดอกบานเป็นรูปถ้วย 2.ดอกบานเป็นรูปแผ่แบน 3.กลีบดอกบานแบบแผ่โค้ง การขยายพันธุ์ การขยายพันธุ์มี 3 วิธี คือ 1.การปักชำ 2.การเสียบยอด 3.การติดตา โรคและแมลงศัตรู 1.โรค ที่พบในชบาได้แก่ โรคใบจุดในช่วงฤดูฝน โรคใบหงิกที่เกิดจากเชื้อไวรัสโดยมีแมลงหวี่ขาวเป็นพาหะ 2.แมลงศัตรุ ที่พบมากได้แก่ แมลงหวี่ขาวดูดน้ำเลี้ยงจากใบและยอดอ่อนทำให้เกิดโรคใบหงิก เพลี้ยแป้ง เพี้ยหอย ดูดน้ำเลี้ยงจากใบและกิ่งก้านนอกจากนี้ยังมีหนอนผีเสื้อ บางชนิดกัดกินดอกอ่อนทำให้ดอกไม่บานหรือกลีบเว้าแห่วง 3.สัตว์สัตรู ได้แก่ หอยทาก ทำลายโดยการกัดกินดอก กำจัดโดยใช้มือดึงออกหรือโรยปูนขาวรอบพื้นที่ปลูก



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น